มาตรฐาน ศ 1.1 : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์และวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก
ความคิด ต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ1.2 : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่เป็น มรดกทางวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น
-
สอนทัศนศิลป์
-
นวัตกรรมสื่อการเรียนการสอน
-
ทฤษฏีทัศนศิลป์
-
การเขียนการ์ตูน
-
มุมมองแห่งความงาม
-
ศิลปะเขียนลายเส้นจากทราย
-
CAIศิลปะแห่งความประทับใจ
-
CAIการสื่อสารทางศิลปะ1
-
CAIการสื่อสารทางศิลปะ2
-
CAIการสื่อสารทางศิลปะ3
-
CAIการสื่อสารทางศิลปะ4
-
CAIการสื่อสารทางศิลปะ5
-
มาสนุกกับศิลปะ
- ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม
- ความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน ความสมดุล
- การวาดภาพแสดงทัศนียภาพ
- เอกภาพความกลมกลืนของเรื่องราวในงานปั้น หรืองานสื่อผสม
- การประเมินงานทัศนศิลป์
- การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิก
- รูปแบบของทัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์
- ความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงาน ทัศนศิลป์ของศิลปิน
- เทคนิคในการวาดภาพสื่อความหมาย
- วัฒนธรรมที่สะท้อนในงานทัศนศิลป์ปัจจุบัน
- การประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์
- การพัฒนางานทัศนศิลป์
- การวาดภาพถ่ายทอดบุคลิกลักษณะของตัวละคร
- งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา
- ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์
- เทคนิควิธีการของศิลปินในการ สร้างงาน ทัศนศิลป์
- วิธีการใช้ทัศนธาตุ และหลัก การออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์
- การสร้างงานทัศนศิลป์ประเภทต่างๆ
- การใช้หลักการออกแบบในการสร้างงานสื่อผสม
- การสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ ถ่ายทอดประสบการณ์ และ จินตนาการ
- การประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
- การวิเคราะห์์รูปแบบ เนื้อหาและคุณค่า ในงานทัศนศิลป์
- การใช้เทคนิควิธีการที่หลากหลายสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อสื่อ ความหมาย
- การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์
- การจัดนิทรรศการ
- ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ
- ศัพท์ทางทัศนศิลป์
- การใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของ ศิลปินในการแสดงออก ทางทัศนศิลป์
- เทคนิค วัสดุ อุปกรณ์ของ กระบวนการในการสร้างงานทัศนศิลป์
- หลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยเทคโนโลยี
- การออกแบบงานทัศนศิลป์
- จุดมุ่งหมายของศิลปินในการ เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหาเพื่อ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
- ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
- การจัดทำแฟ้มสะสมงาน
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์จากแนวคิดและวิธีการของศิลปิน
- การวาดภาพการ์ตูน
ระดับชั้น | ตัวชี้วัด | สาระการเรียนรู้แกนกลาง |
ม.1 | 1. บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของ งานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ความรู้เรื่อง ทัศนธาตุ |
|
2. ระบุและบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดย เน้นความเป็นเอกภาพความกลมกลืนและความสมดุล |
||
3. วาดภาพทัศนียภาพแสดงให้เห็นระยะไกลใกล้ เป็น 3 มิติ | ||
4. รวบรวมงานปั้นหรือสื่อผสมมาสร้างเป็นเรื่องราว 3 มิติ โดยเน้นความเป็นเอกภาพความกลมกลืน และการสื่อ ถึงเรื่องราวของงาน |
||
5. ประเมินงานทัศนศิลป์และบรรยายถึงวิธีการ ปรับปรุง งานของตนเองและผู้อื่นโดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดให้ |
||
6. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิกอื่น ๆ ในการ นำเสนอความคิดและข้อมูล |
||
ม.2 | 1. อภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุในด้านรูปแบบและแนวคิด ของงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา |
|
2. บรรยายเกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างของ รูปแบบการใช้วัสดุอุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน |
||
3.วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมาย และเรื่องราวต่าง ๆ | ||
4. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่สะท้อนถึง งานทัศนศิลป์ในปัจจุบัน |
||
5. สร้างเกณฑ์ในการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ |
||
6. เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือ ปรับปรุงงานหลังจากได้รับ การวิจารณ์ และแสดงเหตุผลประกอบ |
||
7. ศึกษาบุคลิกลักษณะของตัวละคร และนำเสนอ โดยการ วาดภาพประกอบ | ||
8. บรรยายวิธีการใช้งานทัศนศิลป์ในการโฆษณาเพื่อ โน้มน้าวใจ และนำเสนอตัวอย่างประกอบ |
||
ม.3 | 1. บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ
|
|
2. ระบุ และบรรยายเทคนิควิธีการของศิลปินในการ สร้างงาน ทัศนศิลป์ |
||
3. วิเคราะห์ และบรรยายวิธีการใช้ทัศนธาตุ และหลักการ ออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ |
||
4. มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย 3 ประเภท |
||
5. มีทักษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงาน ทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ |
||
6. สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ ถ่ายทอด ประสบการณ์และจินตนาการ |
||
7. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ |
||
8. วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงาน ทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน |
||
9. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ ต่างๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย |
||
10. ระบุอาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ และทักษะที่ จำเป็นในการประกอบอาชีพนั้น ๆ |
||
11. เลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดขึ้นอย่าง เหมาะสม และนำไปจัดนิทรรศการ | ||
ม.4-6 | 1. วิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการ สื่อความหมายในรูปแบบต่าง ๆ | |
2. บรรยายจุดประสงค์ และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ โดย ใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ |
||
3. วิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของ ศิลปินในการแสดงออกทางทัศนศิลป์ | ||
4. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และกระบวนการที่สูงขึ้น ในการสร้างงานทัศนศิลป์ | ||
5. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ด้วยเทคโนโลยีต่าง ๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ |
||
6. ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะกับโอกาสและ สถานที่ |
||
7. วิเคราะห์และอธิบายจุดมุ่งหมายของศิลปินในการ เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหาเพื่อสร้างสรรค์ งานทัศนศิลป์ |
||
8. ประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ โดยใช้ทฤษฎี การวิจารณ์ศิลปะ |
||
9. จัดกลุ่มงานทัศนศิลป์เพื่อสะท้อนพัฒนาการ และ ความก้าวหน้าของตนเอง | ||
10. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยศึกษาจากแนวคิด และ วิธีการสร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ | ||
11. วาดภาพระบายสี ภาพล้อเลียน หรือการ์ตูน เพื่อแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมในปัจจุบัน |